Hamutaro - Hamtaro 4

วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปบทความ




                                     วิทยาศาสตร์กับการเรียนรู้ของเด็ก

          เด็กเป็นนักค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้โดยธรรมชาติ การหยิบจับ สัมผัส และการสังเกต เป็นวิธีการเรียนวิทยาศาสตร์ พฤติกรรมการเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็ก คล้ายกับการเรียนเหตุผลทางคณิตศาสตร์ เช่น การจำแนก การเปรียบเทียบ การหาความสัมพันธ์ของวัตถุ การเรียนวิทยาศาสตร์และการเรียนคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยจึงพัฒนาควบคู่กัน แต่การเรียนวิทยาศาสตร์จะเน้นการเรียนทักษะวิทยาศาสตร์และธรรมชาติรอบตัว ได้แก่ เรื่องพืช สัตว์ เวลา ฤดูกาล น้ำ และอากาศร่วมด้วย
วิทยาศาสตร์ แสนสนุก
โดยพื้นฐานแล้ว วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการสังเกตโลกรอบตัวและการสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับสิ่งที่เห็น ศึกษาตั้งแต่สิ่งเล็ก ๆ อย่างเช่นแมลงในสนามหญ้า ไปจนถึงสิ่งใหญ่ ๆ อย่างดวงดาว ในขณะที่เด็ก ๆ กำลังมองผ่านกล้องจุลทรรศน์หรือกล้องส่องทางไกล นั่นเท่ากับว่าเด็ก ๆ กำลังเก็บรายละเอียดหรือเก็บข้อมูล ยิ่งดูมาก สังเกตมาก ก็ยิ่งได้ข้อมูลมาก
เคยได้ยินเด็ก ๆ ตั้งคำถามแบบนี้กันบ้างไหม... ”ทำไมปลาไม่นอน” “ทำไมต้นหญ้าหน้าตาเหมือนต้นข้าว” “ภาพในโทรทัศน์เกิดขึ้นได้อย่างไร” “ทำไมเรือลำใหญ่ ๆ จึงไม่จมน้ำ” “ดาวหายไปไหนในตอนกลางวัน” คำถามมากมายจากสมองน้อย ๆ เด็ก ๆ คิดคำตอบเหล่านี้บ้างไหม แล้วมีใครเคยคิดคำตอบไว้บ้างหรือยัง ปัญหาชวนฉงนเหล่านี้ คือจุดเริ่มต้นของทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่สำคัญซึ่งพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครู ไม่ควรมองข้าม

ถ้าอยากให้เด็กมีโอกาสพัฒนาจินตนาการทางวิทยาศาสตร์จะทำอย่างไร
เมื่อเด็กช่างซักถาม อย่าทำท่ารำคาญ แต่ต้องพยายามตอบคำถามให้ได้มากที่สุดสร้างสภาพแวดล้อมทางวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นภายในบ้าน ห้องเรียน หาหนังสือเกี่ยวกับนักวิทยาศาสตร์สำคัญของโลก การทดลองสนุก ๆ หรือเกร็ดความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาเตรียมไว้เสมอปลูกฝังความคิดทางวิทยาศาสตร์ให้เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่น พาเด็ก ๆ เดินไปตามเส้นทางรอบ ๆ บริเวณโรงเรียน กระตุ้นให้เด็กสังเกตสิ่งรอบตัวแล้วนำมาพูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนะ เพราะการได้เห็น ได้สัมผัสจากของจริง จะช่วยกระตุ้นความใฝ่รู้ของเด็กได้อีกมาก

ที่มา ครูอุ้ม อนุบาลศรีสะเกษ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4



      บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 9 กันยายน 2557 เวลา 14.10-15.30 น.










       ความรู้ที่ได้รับ




                     



   การนำไปประยุกต์ใช้

          นำความรู้ที่ได้รับไปใช้กับเด็กปฐมวัย เพื่อที่จะให้ตรงตามความต้องการและพัฒนาการของเด็ก ให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดี นอกจากนี้ยังนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้เป็นแนวทางในการสอนเด็กปฐมวัยต่อไป
     การประเมิน
          ประเมินตนเอง: แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังและจดตามที่อาจารย์สอน
          ประเมินเพื่อน: ส่วนมากตั้งใจเรียนมีคุยบ้างเป็นบางกลุ่ม แต่ก็ร่วมมือกันทำกิจกรรมดี



บันทึกอนุทินครั้งที่ 3



บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
วิชา การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 3 กันยายน 2557 เวลา 14.10-17.30 น.







         กิจกรรมโครงการ ศึกษาศาสตร์วิชาการ



     กิจกรรมที่ได้เข้าร่วม
   
    นิทรรศการ    การคิดวิจารณญาณ
     นิทรรศการ    การคิดเป็นระบบ
     นิทรรศการ    การคิดวิเคราะห์
     นิทรรศการ    การคิดสังเคราะห์
     นิทรรศการ    การคิดสร้งสรรค์
     นิทรรศการ    ผลงานการคิด
 
  การนำไปประยุกต์ใช้
          
          สามารถนำกิจกรรมในงานไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน และนำไปเป็นแนวทางในการออกแบบการสอนให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย



บันทึกอนุทินครั้งที่2



บันทึกอนุทินครั้งที่2

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์ปฐมวัย

วันที่ 26 สิงหาคม 2557 เวลา 14.10-17.30 น.



                     
ความรู้ที่ได้รับ


      

            
  การนำไปประยุกต์ใช้


                         นำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดศึกษาเพิ่มเติม ได้ความรู้เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์

                        การประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนร่วมตอบคำถามในห้องเรียน
                          
                        การประเมินเพื่อน: ตั้งใจฟังไม่คุยกัน
                        การประเมินอาจารย์: อธิบายเนื้อหาการสอนเป็นำดับขั้นทำให้รู้ถึงที่มาที่ไปของคำตอบ ถามคำถามปลายเปิด



บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
 
                    วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
           วันที่ 19 สิงหาคม 2557 เวลา 14.10-17.30 น.


                 ความรู้ที่ได้รับ

            1. อาจารย์แนะเเนวการสอน

คำอธิบายรายวิชา หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสต์ รูปแบบการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย กรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาตร์ การออกแบบ สาระการเรียนรู้ การวางแผนบูรณาการ

           ผลลัพธ์การเรียนรู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม : ปฏิบัติตนได้ตามจรรยาบรรณของความเป็นครูปฐมวัย
          ด้านความรู้:  เข้าใจเรื่องของหลักการและวิธีการสอนวิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย                 ทักษะทางปัญญา:  คิดและวางแผนการทำงานได้อย่างเป็นระบบ
  ด้านทักษะระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ:   รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
        ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข : การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี มีการเรียนการ             สอน         โดยการใช้เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับเนื้อหา

การจัดการเรียนรู้

2. อาจารย์อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการทำแฟ้มสะสมผลงานโดยการใช้สื่ออิเล็กทรอนิคส์

สิ่งที่นำไปพัฒนา

นำแนวทางและข้อเสนอแนะของอาจารย์ไปปรับใช้ในการเรียนการสอนต่อไป

การประเมินผล
ตนเอง: มีความตั้งใจในการเรียนการสอน
เพื่อน: ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์สอนและไม่เสียงดังรบกวนเพื่อน
อาจารย์: คอยถามคำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนไมเบื่อและจดจำสิ่งที่สอนได้ง่าย