Hamutaro - Hamtaro 4

วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16


บันทึกอนุทินครั้งที่ 16
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 2 ธันวาคม 2557 เวลา 14.10-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
     วันนี้นำเสนอวิจัย และโทรทัศน์ครูต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว

วิจัย
     - ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติที่มีการจัดประสบการณ์ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
     - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ได้รับการจัดปประสบการณ์แบบโครงการเเละเเบบสืบเสาะหาความรู้

โทรทัศน์ครู
     - เรียนรู้วิทยาศาสตร์
     - เรื่องราวของเสียง

     แบ่งกลุ่ม 5 คน ทำแผ่นพับเรื่องการสานสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับโรงเรียน 

การนำไปประยุกต์ใช้
     สามารถนำสิ่งที่เพื่อนนำเสนอทั้งงานวิจัยและโทรทัศน์ครูมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย และได้รู้วิธีการทำแผ่นพับเพื่อนบอกรายละเอียดการ้รียนหน่วยต่างๆของเด็กให้ผู้ปกครองเข้าใจ

การประเมิน
     ตนเอง: ตั้งใจฟังที่เพื่อนออกไปนำเสนอ ไม่คุยกัน แต่งกายเรียนร้อง
     เพื่อน: ตั้งใจฟังเพื่อนออกไปนำเสนอ ตอบคำถามเมื่อครูถาม ไม่คุยกันเสียงดัง
     อาจารย์: ให้ข้อเสนอแนะในงานต่างๆ ชี้เเนะเเนวทาวงในการนำวิจัยและโทรทัศน์ครูมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมของเด็กปฐมวัย


     




วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15


บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 เวลา 14.10-17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ
     สัปดาห์นี้อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูเป็นรายบุคคล

วิจัย
     วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
     (นำเสนอโดย นางสาววรรณิศา นวลสุข)
     ครูใช้แผนการสอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู็เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจำเเนกรายทักษะ หลังจากจัดกิจกกรมแล้วทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยดีมากขึ้น

     วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องเเสงที่มีผลต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กฐมวัย
     (นำเสนอโดย นางสาวศิริวิมล หมั่นสนธ์)
     แสง หมายถึง เรื่องราวที่อยู่ในสิ่งเเวดล้อมรอบตัวเด็กนำมาใช้เป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรม ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดแสงและการเดินทางของเเสง พลังงานเเสงอาทิตย์ พลังงานแสงที่มนุษย์สร้างขึ้นตัวกลางของเเสง การหักแหของแสง การสะท้อนเเสง

วิจัยเรื่อง การพัฒนาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมนน้ำสมุนไพร
     (นำเสนอโดย นางสาวอรชร ธนชัยวนิชกุล)
     เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นเมื่อได้รับการจัดกิจกรรมการทำน้ำสมุนไพร

โทรทัศน์ครู
     เรื่อง ไฟฟ้ากับพืช
     (นำเสนอโดย นางสาวสุนิษา สะเเลเเม)
     ครูสอนเด็กๆเรื่องการเจริญเติบโตของพืชโดยใช้สื่อการเรียนรู้นอกห้องเรียน และให้นักเรียนสังเกตุการเจริญเติบโตของพืช จากนั้นให้เด็กทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องไฟฟ้าเเละพันธ์ุพืช

     เรื่อง สารอาหารในชีวิตประจำวัน
     (นำเสนอโดย นางสาวพัชราภรณ์ พระนาค)
     ครูทำกิจกรรมในห้องเรียนโดยมีขนมและกับข้าวมาให้เด็กๆแต่ละกลุ่ม ครูบอกถึงประโยชน์และสารอาหารที่มีในอาหารให้เด็กๆได้วิเคาะห์สารอาหารของอาหารและขนมของกลุ่มตัวเอง

     เรื่อง การกำเนิดเสียง
     (นำเสนอโดย นางสาวธิดามาศ ศรีปาน)
      การกำเนิดของเสียง คือ เสียงเกิดจากการสั่นของมวลเนื้อวัตถุ เมื่อมวลวัตถุถูกเคาะจะเกิดการสั่นสะเทิอนจึงทำให้เกิดเสียงที่เราได้ยิน จากการทดลองนี้เด็กได้ประสบการณ์เกี่ยวกับทักษะทางวืทยาศาสตร์คือ ได้คิด ทดลองและสังเกต
   






ทำวัฟเฟิล
     ส่วนประกอบ
1. แป้ง
2. เนย
3. ไข่ไก่
4. น้ำเปล่า





การนำไปประยุกต์ใช้
      สามารถนำความรู้ที่ได้จากการนำเสนองานวิจัยและโทรทัศน์ครูของเพื่อนมาปรับใช้เป็นกิจกรรมหรือวิธีการสอนเด็กในอนาคตได้  และสามารถนำกิจกรรมการทำวาฟเฟิลมาใช้เป็นกิจกรรมในการสอนเด็กได้อีกด้วย

การประเมิน
   ตนเอง : ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ จดบันทึกตามที่เพื่อนนำเสนอและที่อาจารย์ให้คำแนะนำ  ให้ความร่วมือการทำกิจกรรม
          เพื่อน : ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอ  และจดบันทึกตามอาจารย์  มีความระตือรือร้น  
          อาจารย์ : ให้คำอธิบายและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ  เพื่อความเข้าใจมากยิ่งขึ้นของนักศึกษา


วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สรุปวิจัย


ชื่อวิจัย : ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังฟังนิทาน
ชื่อผู้เเต่ง : ศศิพรรณ สำเเดงเดช
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ความสำคัญและความเป็นมาของงานวิจัย
     ผลของการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ จะเป้นเเนวทางให้กับครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวัยได้ตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญในการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน

กลุ่มตัวอย่าง
     เด็กชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลที่ 2 จำนวน 30 คน โดยผู้วิจัยทำการทดสอบเด็กด้วยแบบทดสอบทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อคัดเลือกเด็กปฐมวัย 15 คน ที่มีคะเเนนทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 15 อันดับสุดท้าย กำหนดเป็นกลุ่มทดลอง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
     แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน 24 แผน และเเบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

 ระยะเวลาการทดลอง
     8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ3 วัน วันละ 30 นาที

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กจะได้
     การสังเกต การจำแนก การสื่อสาร




ตัวอย่างนิทานที่ส่งเสริมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
   
เรื่อง ลูกไก่กับลูกเป็ด

   ลูกเป็ดกับลูกไก่ก็ไปเที่ยวยังสระน้ำที่เดิม พอเล่นน้ำเสร็จก็พากัน
เดินกลับบ้าน เผอิญลูกเป็ดเหยียบพลาดจึงตกหลุมเดินนั่นอีก “ กิ๋วๆช่วยด้วย” ลูกเป็ดร้อง “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ
ฉันจะช่วยเธอ” ลูกไก่ตอบ ลูกไก่วิ่งไปหาแขนงไม้มาให้ลูกเป็ดจับปีนขึ้นมาแต่ลูกเป็ดว่ายน้ำจนหมดแรงจึงปีน
ขึ้นมาไม่ไหว ได้แต่นั่งคอตกหมดหวัง มันไม่ส่งเสียงร้องอีกต่อไป “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ ฉันจะหาวิธีใหม่”
ลูกไก่วิ่งไปตักน้ำมาใส่หลุม มันวิ่งไปตักน้ำหลายเที่ยวจนแทบหมดแรง แต่มันไม่ท้อถอยพยายามต่อไปลูกไก่
รักเพื่อนของมัน ไม่นานนักลูกไก่ก็ตักน้ำใส่หลุมจนเต็มลูกเป็ดจึงลอยขึ้นมาได้(ทำไมลูกเป็ดจึงลอยน้ำได้
ทักษะการสังเกต การสื่อสาร) “ขอบใจเพื่อนมากจ๊ะ

วิธีทดลอง
     1. ให้เด็กหยิบลูกปิงปองกับมะนาวในกล่องดำขึ้นมา (เด็กๆมองไม่เห็นวัตถุในกล่อง จะต้องใช้วิธี
สัมผัสและเดาจึงจะได้ผลมะนาวและลูกปิงปอง)
    2. ปล่อยลูกปิงปองและผลมะนาวลงไปในอ่างน้ำ ให้สังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น

   

   

สรุปโทรทัศน์ครู








สรุป
     กิจกรรมของเล่นของใช้ของคุณครู สุวรรณา ชโลวัฒนะ โรงเรียนบ้านเหมือนแร่ ครูจะเน้นวิธีการสอนให้เด็กได้รู้จักของเล่นของใช้กจกรรม ของเล่นของใช้ ของคุณครู สุวรรณา ชโลวัฒนะ (โรงเรียนบ้านเมือง) เป็นวิธีการสอนให้เด็กระดับอนุบาลเพื่อฝึกให้เด็กรู้จักของใช้และของเล่น มีของจริงให้เด็กได้ดู แล้วจัดของลงในตะกร้าของเล่นจริง มีการใช้กลองตีบอกจังหวะการกระโดด และสร้างแรงจูงใจให้เด็กโดยการเล่านิทานและมีตุ๊กตาประกอบ เด็กๆจะสนใจฟังนิทานมาก เด็กรู้จักการสังเกตของเล่นและของใช้ ถ้าใครทำไม่ได้ ครูจะถามเด็กว่ามีใครจะช่วยบ้างใหม เป็นการฝึกให้เด็กมีน้ำใจและ ช่วยเหลือเพื่อนๆ ถ้าใครทำได้ก็จะมีการปรบมือให้คำชม นอกจากนี้ครูยังใช้งานประดิษฐ์ คือ ม้วนกระดาษติดกับไม้ เพื่อฝึกกล้ามเนื้อมือ ฝึกสมาธิและพัฒนาการของเด็กด้วย

การประยุกต์ใช้
   
     สามารถนำวิธีการดังกล่าวข้างต้นมาปรับประยุกต์ใช้ในการฝึกการเรียนรู้เรื่องของเล่นและของใช้ให้เเก่เด็ก รวมทั้งการเล่านิทานก็เป็นวิธีการที่เหมาะกับเด็กระดับอนุบาลอย่างมาก


วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14


บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 เวลา 14.10-17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ
     นำเสนอแผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่เเล้ว

กลุ่ม 7 หน่วยนกหงษ์หยก
สอนเรื่องลักษณะ




กลุ่มที่ 8 หน่วยสัปรด
สอนเรื่องปประโยชน์และข้อควรระวัง




 กลุ่มที่ 9 หน่วยส้ม




นำเสนอวิจัย/โทรทัศน์ครู
     
 1. นางสาวกมลชนก หยงสตาร์ นำเสนอโทรทัศน์ครู เรื่อง นมสีกับน้ำยาล้างจาน
     ขั้นตอนการทดลอง ใส่นม สีผสมอาหารและน้ำยาล้างจาน หลังจากนั้นให้เด็กๆสังเกตุดูปฎิกิริยาในการทดลอง เด็กๆได้สังเกต
2. นางสาวจุฑาทิพย์ แก่นแก้ว นำเสนอวิจัย เรื่องสร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง 5 จากวิจัยนี้
    เด็กได้สังเกต
3. นางสาวรัตติพร ชัยยัง นำเสนอวิจัยเรื่อง