ชื่อวิจัย : ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังฟังนิทาน
ชื่อผู้เเต่ง : ศศิพรรณ สำเเดงเดช
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ความสำคัญและความเป็นมาของงานวิจัย
ผลของการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ จะเป้นเเนวทางให้กับครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวัยได้ตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญในการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
กลุ่มตัวอย่าง
เด็กชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลที่ 2 จำนวน 30 คน โดยผู้วิจัยทำการทดสอบเด็กด้วยแบบทดสอบทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อคัดเลือกเด็กปฐมวัย 15 คน ที่มีคะเเนนทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 15 อันดับสุดท้าย กำหนดเป็นกลุ่มทดลอง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน 24 แผน และเเบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ระยะเวลาการทดลอง
8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ3 วัน วันละ 30 นาที
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กจะได้
การสังเกต การจำแนก การสื่อสาร
ตัวอย่างนิทานที่ส่งเสริมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
เรื่อง ลูกไก่กับลูกเป็ด
เดินกลับบ้าน เผอิญลูกเป็ดเหยียบพลาดจึงตกหลุมเดินนั่นอีก “ กิ๋วๆช่วยด้วย” ลูกเป็ดร้อง “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ
ฉันจะช่วยเธอ” ลูกไก่ตอบ ลูกไก่วิ่งไปหาแขนงไม้มาให้ลูกเป็ดจับปีนขึ้นมาแต่ลูกเป็ดว่ายน้ำจนหมดแรงจึงปีน
ขึ้นมาไม่ไหว ได้แต่นั่งคอตกหมดหวัง มันไม่ส่งเสียงร้องอีกต่อไป “เจี๊ยบๆ รอเดี๋ยวนะ ฉันจะหาวิธีใหม่”
ลูกไก่วิ่งไปตักน้ำมาใส่หลุม มันวิ่งไปตักน้ำหลายเที่ยวจนแทบหมดแรง แต่มันไม่ท้อถอยพยายามต่อไปลูกไก่
รักเพื่อนของมัน ไม่นานนักลูกไก่ก็ตักน้ำใส่หลุมจนเต็มลูกเป็ดจึงลอยขึ้นมาได้(ทำไมลูกเป็ดจึงลอยน้ำได้
ทักษะการสังเกต การสื่อสาร) “ขอบใจเพื่อนมากจ๊ะ
วิธีทดลอง
1. ให้เด็กหยิบลูกปิงปองกับมะนาวในกล่องดำขึ้นมา (เด็กๆมองไม่เห็นวัตถุในกล่อง จะต้องใช้วิธี
สัมผัสและเดาจึงจะได้ผลมะนาวและลูกปิงปอง)
2. ปล่อยลูกปิงปองและผลมะนาวลงไปในอ่างน้ำ ให้สังเกตว่าเกิดอะไรขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น